แนวคิดนักจิตวิทยากลุ่มต่างๆ
1.กลุ่มโครงสร้างทางจิต (Structuralism)
ผู้นำกลุ่มความคิดนี้คือ วิลเฮล์ม วุนต์ แนวคิดนี้สนใจศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้าวของจิตสำนึกของมนุษย์ โดยมีแนวคิดว่าจิตสำนึกของมนุษย์ประกอบด้วย ธาตุทางจิต 3 ชนิดคือ การรู้สึก อารมณ์ และจินตนาการ โดยในการศึกษาจิตธาตุทั้ง 3 ชนิด จะใช้วิธีพิจารณาภายใน ซึ่งไม่เป็นวิทยาศาสตร์เพราะข้อมูลที่ได้จากการรายงานความรู้สึกของผู้ถูก ศึกษามีความเป็นอัตนัยสูง
ผู้นำกลุ่มความคิดนี้คือ วิลเฮล์ม วุนต์ แนวคิดนี้สนใจศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้าวของจิตสำนึกของมนุษย์ โดยมีแนวคิดว่าจิตสำนึกของมนุษย์ประกอบด้วย ธาตุทางจิต 3 ชนิดคือ การรู้สึก อารมณ์ และจินตนาการ โดยในการศึกษาจิตธาตุทั้ง 3 ชนิด จะใช้วิธีพิจารณาภายใน ซึ่งไม่เป็นวิทยาศาสตร์เพราะข้อมูลที่ได้จากการรายงานความรู้สึกของผู้ถูก ศึกษามีความเป็นอัตนัยสูง
2.กลุ่มหน้าที่ของจิต (Functionalism)
แนว คิดของกลุ่มหน้าที่ทางจิตให้ความสำคัญกับวิธีการทีมนุษย์ใช้ในการปรับตัว เข้ากับสิ่งแวดล้อม นักจิตวิทยาในกลุ่มนี้ให้ความเห็นว่า จิตเป็นตัวก่อให้เกิดปัญหา เป็นอวัยวะที่สำคัญที่สุดที่มนุษย์ใช้ในการปรับตัวเพื่อดำรงชีวิตอยู่ได้ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความสนใจของนักจิตวิทยาในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างจิตกับพฤติกรรม
แนว คิดของกลุ่มหน้าที่ทางจิตให้ความสำคัญกับวิธีการทีมนุษย์ใช้ในการปรับตัว เข้ากับสิ่งแวดล้อม นักจิตวิทยาในกลุ่มนี้ให้ความเห็นว่า จิตเป็นตัวก่อให้เกิดปัญหา เป็นอวัยวะที่สำคัญที่สุดที่มนุษย์ใช้ในการปรับตัวเพื่อดำรงชีวิตอยู่ได้ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความสนใจของนักจิตวิทยาในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างจิตกับพฤติกรรม
3.กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)
จอห์น บี วัตสัน นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน ผู้นำแนวคิดที่สำคัญที่เสนอให้มีการศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ในด้านที่สังเกต และมองเห็นได้ ซึ่งจัดว่าเป็นการศึกษาที่เป็นวิทยาศาสตร์ ทำให้วัตสันได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาของจิตวิทยาสมัยใหม่ แนวคิดของพฤติกรรมนิยมเน้นว่าพฤติกรรมทุกอย่างต้องมีเหตุและเหตุนั้นอาจมาจากสิ่งเร้าในรูปใดก็ได้มากระทบอินทรีย์ ทำให้อินทรีย์มีพฤติกรรมตอบสนอง นักคิดในกลุ่มนี้จึงมักศึกษาพฤติกรรมต่างๆด้วยวิธีการทดลองและใช้การสังเกตอย่างมีระบบจากการทดลอง โดยสรุปว่าการวางเงื่อนไขเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดพฤติกรรมและถ้าเรารู้สาเหตุของพฤติกรรมเราก็จะสามารถเปลี่ยนพฤติกรรมได้
จอห์น บี วัตสัน (1878 – 1958) นักจิตวิทยาชาวอเมริกันและผู้ก่อตั้งสำนักพฤติกรรมนิยม (behaviorism)
จอห์น บี วัตสัน นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน ผู้นำแนวคิดที่สำคัญที่เสนอให้มีการศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ในด้านที่สังเกต และมองเห็นได้ ซึ่งจัดว่าเป็นการศึกษาที่เป็นวิทยาศาสตร์ ทำให้วัตสันได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาของจิตวิทยาสมัยใหม่ แนวคิดของพฤติกรรมนิยมเน้นว่าพฤติกรรมทุกอย่างต้องมีเหตุและเหตุนั้นอาจมาจากสิ่งเร้าในรูปใดก็ได้มากระทบอินทรีย์ ทำให้อินทรีย์มีพฤติกรรมตอบสนอง นักคิดในกลุ่มนี้จึงมักศึกษาพฤติกรรมต่างๆด้วยวิธีการทดลองและใช้การสังเกตอย่างมีระบบจากการทดลอง โดยสรุปว่าการวางเงื่อนไขเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดพฤติกรรมและถ้าเรารู้สาเหตุของพฤติกรรมเราก็จะสามารถเปลี่ยนพฤติกรรมได้
จอห์น บี วัตสัน (1878 – 1958) นักจิตวิทยาชาวอเมริกันและผู้ก่อตั้งสำนักพฤติกรรมนิยม (behaviorism)
4. กลุ่มเกสตอลท์ (Gestalt Psychology)
Wertheimer,Maxz ผู้นำกลุ่มเกสตอลท์
กลุ่มเกสตอลท์ เป็นกลุ่มแนวคิดทางจิตวิทยาที่ตั้งขึ้นโดยนักจิตวิทยาชาวเยอรมันเพื่อโต้แย้งกลุ่มทางจิตกลุ่มอื่น โดยมีแนวคิดว่าการศึกษาจิตสำนึกนั้นจะต้องศึกษาจากการรับรู้ของมนุษย์ ซึ่งจะมุ่งความสนใจไปที่หลักการต่างๆ ที่เกี่ยวกับการจัดระบบการรับรู้ของมนุษย์และจากการศึกษาพบว่ามนุษย์จะรับรู้ส่วนรวมของสิ่งเร้ามากกว่าเอาส่วนย่อย ๆ ของสิ่งเร้านั้นมารวมกัน นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการรับรู้แล้ว นักจิตวิทยากลุ่มนี้ยังศึกษาเกี่ยวกับการเรียนรู้ซึ่งถือได้ว่าเป็นต้น กำเนิดของการพัฒนาจิตวิทยากลุ่มความรู้ความเข้าใจ
Wertheimer,Maxz ผู้นำกลุ่มเกสตอลท์
กลุ่มเกสตอลท์ เป็นกลุ่มแนวคิดทางจิตวิทยาที่ตั้งขึ้นโดยนักจิตวิทยาชาวเยอรมันเพื่อโต้แย้งกลุ่มทางจิตกลุ่มอื่น โดยมีแนวคิดว่าการศึกษาจิตสำนึกนั้นจะต้องศึกษาจากการรับรู้ของมนุษย์ ซึ่งจะมุ่งความสนใจไปที่หลักการต่างๆ ที่เกี่ยวกับการจัดระบบการรับรู้ของมนุษย์และจากการศึกษาพบว่ามนุษย์จะรับรู้ส่วนรวมของสิ่งเร้ามากกว่าเอาส่วนย่อย ๆ ของสิ่งเร้านั้นมารวมกัน นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการรับรู้แล้ว นักจิตวิทยากลุ่มนี้ยังศึกษาเกี่ยวกับการเรียนรู้ซึ่งถือได้ว่าเป็นต้น กำเนิดของการพัฒนาจิตวิทยากลุ่มความรู้ความเข้าใจ
5.กลุ่มจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis)
ผู้นำแนวคิดของกลุ่มนี้ได้แก่ ซิกมุนด์ ฟรอยด์ โดยเชื่อว่าพฤติกรรม ทั้งหลายมีสาเหตุเกิดจากพลังที่อยู่ในจิตไร้สำนึก จิตส่วนนี้จะรวบรวมความคิด ความต้องการ และประสบการณ์ที่ผู้เป็นเจ้าของจิตไม่ต้องการหรือปรารถนาที่จะจดจำ จึงเก็บกดความรู้สึกต่าง ๆ เหล่านี้ไว้ให้ลงอยู่ในจิตส่วนนี้ อย่าง ไรก็ตามหากความต้องการหรือความรู้สึกต่างๆ ที่บุคคลเก็บกดไว้ยังมีพลังอยู่ ถ้าเกิดมีสิ่งใดมากระตุ้นขึ้น พลังนี้ก็จะแสดงอิทธิพลทำให้บุคคลเกิดพฤติกรรมบางอย่างที่ไม่รู้สึกตัว นอก จากนี้นักจิตวิทยากลุ่มนี้ยังเชื่ออีกว่าพฤติกรรมทั้งหลายมีสาเหตุเกิดจาก พลังที่อยู่ในจิตไร้สำนึก ความคิดเช่นนี้ได้รับการต่อต้านอย่างมากในตอนแรก ๆ แต่ในเวลาต่อมาหลักการทางจิตวิเคราะห์ได้รับการยอมรับโดยการนำไปใช้ในวงการ ของจิตแพทย์หรือการบำบัดรักษาอาการที่ผิดปกติทางอารมณ์และจิตใจ
ซิกมุนด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud, 1865 – 1539)
ผู้นำแนวคิดของกลุ่มนี้ได้แก่ ซิกมุนด์ ฟรอยด์ โดยเชื่อว่าพฤติกรรม ทั้งหลายมีสาเหตุเกิดจากพลังที่อยู่ในจิตไร้สำนึก จิตส่วนนี้จะรวบรวมความคิด ความต้องการ และประสบการณ์ที่ผู้เป็นเจ้าของจิตไม่ต้องการหรือปรารถนาที่จะจดจำ จึงเก็บกดความรู้สึกต่าง ๆ เหล่านี้ไว้ให้ลงอยู่ในจิตส่วนนี้ อย่าง ไรก็ตามหากความต้องการหรือความรู้สึกต่างๆ ที่บุคคลเก็บกดไว้ยังมีพลังอยู่ ถ้าเกิดมีสิ่งใดมากระตุ้นขึ้น พลังนี้ก็จะแสดงอิทธิพลทำให้บุคคลเกิดพฤติกรรมบางอย่างที่ไม่รู้สึกตัว นอก จากนี้นักจิตวิทยากลุ่มนี้ยังเชื่ออีกว่าพฤติกรรมทั้งหลายมีสาเหตุเกิดจาก พลังที่อยู่ในจิตไร้สำนึก ความคิดเช่นนี้ได้รับการต่อต้านอย่างมากในตอนแรก ๆ แต่ในเวลาต่อมาหลักการทางจิตวิเคราะห์ได้รับการยอมรับโดยการนำไปใช้ในวงการ ของจิตแพทย์หรือการบำบัดรักษาอาการที่ผิดปกติทางอารมณ์และจิตใจ
ซิกมุนด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud, 1865 – 1539)
6. กลุ่มปัญญานิยม (Cognitivism)
การรู้การคิด (Cognition) หมายถึง กระบวนการทางจิตซึ่งทำการเปลี่ยนข้อมูลที่ผ่านเข้ามาทางประสาทสัมผัสไปในรูปแบบต่างๆ กระบวนการนี้ทำหน้าที่ตั้งแต่ลดจำนวนข้อมูล (Reduced) เปลี่ยนรหัส(Code) และส่งไปเก็บไว้ (Store) ในหน่วยความจำและรื้อฟื้นเรียกคืน (Retrieve) มาได้เมื่อต้องการ การรับรู้ จินตนาการ การแก้ปัญหา การจำได้ และการคิด คำเหล่านี้ล้วนอธิบายถึงขั้นตอนต่างๆ เมื่อเกิดการรู้-การคิด นักจิตวิทยากลุ่มนี้คัดค้านว่ามนุษย์เรามิได้เป็นเพียงแต่หน่วยรับสิ่งเร้า ที่อยู่เฉยๆ เท่านั้น แต่จิตจะมีกระบวนการสร้างข้อสนเทศขึ้นใหม่หรือชนิดใหม่ การ ตอบสนองของมนุษย์ขึ้นอยู่กับกระบวนการทำงานของจิตในการประมวลผลข้อมูล และเมื่อมีข้อมูลใหม่หรือประสบการณ์ใหม่การตอบสนองก็เปลี่ยนไปได้
การรู้การคิด (Cognition) หมายถึง กระบวนการทางจิตซึ่งทำการเปลี่ยนข้อมูลที่ผ่านเข้ามาทางประสาทสัมผัสไปในรูปแบบต่างๆ กระบวนการนี้ทำหน้าที่ตั้งแต่ลดจำนวนข้อมูล (Reduced) เปลี่ยนรหัส(Code) และส่งไปเก็บไว้ (Store) ในหน่วยความจำและรื้อฟื้นเรียกคืน (Retrieve) มาได้เมื่อต้องการ การรับรู้ จินตนาการ การแก้ปัญหา การจำได้ และการคิด คำเหล่านี้ล้วนอธิบายถึงขั้นตอนต่างๆ เมื่อเกิดการรู้-การคิด นักจิตวิทยากลุ่มนี้คัดค้านว่ามนุษย์เรามิได้เป็นเพียงแต่หน่วยรับสิ่งเร้า ที่อยู่เฉยๆ เท่านั้น แต่จิตจะมีกระบวนการสร้างข้อสนเทศขึ้นใหม่หรือชนิดใหม่ การ ตอบสนองของมนุษย์ขึ้นอยู่กับกระบวนการทำงานของจิตในการประมวลผลข้อมูล และเมื่อมีข้อมูลใหม่หรือประสบการณ์ใหม่การตอบสนองก็เปลี่ยนไปได้
7. กลุ่มมนุษยนิยม (Humanism)
ผู้นำสำคัญในกลุ่มมนุษย์นิยม ได้แก่ คาร์ล โรเจอร์ (Calr R. Rogers, 1902-1987)
จิตวิทยา กลุ่มมนุษย์นิยมพัฒนาขึ้นประมาณปี ค.ศ. 1940 โดยเชื่อว่าเราสามารถเข้าใจถึงธรรมชาติของมนุษย์ได้ดีขึ้นด้วยการศึกษาถึง การรับรู้ของบุคคลที่เกี่ยวกับตนเอง ความคิดส่วนตัวที่เขามีต่อบุคคลอื่นและโลกที่เขาอาศัยอยู่ และยังมีความเชื่อว่า มนุษย์ เรามีคุณลักษณะที่สำคัญที่ทำให้เราแตกต่างไปจากสัตว์คือมนุษย์เรามีความมุ่ง มั่นอยากที่จะเป็นอิสระ เราสามารถกำหนดตัวเองได้และเรามีพลังจูงใจ (Motivational Force) ที่จะพัฒนาตนเองไปสู่ระดับที่สมบูรณ์ขึ้น ที่แสดงถึงความเป็นจริงแห่งตน ซึ่งหมายถึงการพัฒนาความรู้ความสามารถที่ตนเองมีอยู่ให้เต็มที่ (Self Actualization)
ผู้นำสำคัญในกลุ่มมนุษย์นิยม ได้แก่ คาร์ล โรเจอร์ (Calr R. Rogers, 1902-1987)
จิตวิทยา กลุ่มมนุษย์นิยมพัฒนาขึ้นประมาณปี ค.ศ. 1940 โดยเชื่อว่าเราสามารถเข้าใจถึงธรรมชาติของมนุษย์ได้ดีขึ้นด้วยการศึกษาถึง การรับรู้ของบุคคลที่เกี่ยวกับตนเอง ความคิดส่วนตัวที่เขามีต่อบุคคลอื่นและโลกที่เขาอาศัยอยู่ และยังมีความเชื่อว่า มนุษย์ เรามีคุณลักษณะที่สำคัญที่ทำให้เราแตกต่างไปจากสัตว์คือมนุษย์เรามีความมุ่ง มั่นอยากที่จะเป็นอิสระ เราสามารถกำหนดตัวเองได้และเรามีพลังจูงใจ (Motivational Force) ที่จะพัฒนาตนเองไปสู่ระดับที่สมบูรณ์ขึ้น ที่แสดงถึงความเป็นจริงแห่งตน ซึ่งหมายถึงการพัฒนาความรู้ความสามารถที่ตนเองมีอยู่ให้เต็มที่ (Self Actualization)